ปฏิทินวันพระ 2556 เดือนมกราคม
วันเสาร์ ที่ 5 มกราคม เป็นวันแรม 8 ค่ำเดือน 1
วันศุกร์ ที่ 11 มกราคม เป็นวันแรม 14 ค่ำเดือน 1
วันเสาร์ ที่ 19 มกราคม เป็นวันขึ้น 8 ค่ำเดือน 2
วันเสาร์ ที่ 26 มกราคม เป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 2
ปฏิทินวันพระ 2556 เดือนกุมภาพันธ์
วันอาทิตย์ ที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันแรม 8 ค่ำเดือน 2
วันอาทิตย์ ที่ 10 กุมภาพันธ์ เป็นวันแรม 15 ค่ำเดือน 2
วันจันทร์ ที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันขึ้น 8 ค่ำเดือน 3
วันจันทร์ ที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3 (วันมาฆบูชา)
ปฏิทินวันพระ 2556 เดือนมีนาคม
วันอังคาร ที่ 5 มีนาคม เป็นวันแรม 8 ค่ำเดือน 3
วันจันทร์ ที่ 11 มีนาคม เป็นวันแรม 14 ค่ำเดือน 3
วันอังคาร ที่ 19 มีนาคม เป็นวันขึ้น 8 ค่ำเดือน 4
วันอังคาร ที่ 26 มีนาคม เป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 4
วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
วันพุธที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
แบะแซ สารทำน้ำผึ้งเทียม
การดูน้ำผึ้งแท้
แบะแซ หรือ Glucose Syrup หรือ "กลูโคสก้อน" จัดเป็นสารชีวโมเลกุลครับ ได้มาจากการย่อยแป้ง(มันสำปะหลัง) แต่แบะแซคุณภาพดีจะได้จากการย่อยแป้งข้าวโพด อาจจะด้วยกรดอย่างเดียว หรือย่อยด้วยกรดแล้วย่อยต่อด้วยเอนไซม์ต่างๆ เช่น Amylo glucosidase, B-Amylase, A-Amylase เป็นต้น
เวลาย่อยแล้ว แป้งก็มีสายโมเลกุลสั้นลง เกิดลักษณะที่ใสขึ้น แล้วได้เป็นกลูโคสซีรัป(หรือชื่อไทยคือ แบะแซ) ออกมาโดยที่แบ่งเกรดออกเป็นเบอร์ต่างๆที่เรียกว่าค่า DE(Dextrose Equivalent) จากเริ่มต้นย่อยที่ DE=0 จนย่อยเป็นกลูโคสหมดก็ที่ DE=100
เวลาย่อยครึ่งๆกลางๆ ก็จะทำให้ความหนืดที่ได้แตกต่างออกไป เพราะสัดส่วนระหว่างกลูโคส กับเด็กซ์โตรสในส่วนผสมของแบะแซ จะเปลี่ยนไปตามความมากน้อยของการย่อย
แบะแซ หรือ Glucose Syrup หรือ "กลูโคสก้อน" จัดเป็นสารชีวโมเลกุลครับ ได้มาจากการย่อยแป้ง(มันสำปะหลัง) แต่แบะแซคุณภาพดีจะได้จากการย่อยแป้งข้าวโพด อาจจะด้วยกรดอย่างเดียว หรือย่อยด้วยกรดแล้วย่อยต่อด้วยเอนไซม์ต่างๆ เช่น Amylo glucosidase, B-Amylase, A-Amylase เป็นต้น
เวลาย่อยแล้ว แป้งก็มีสายโมเลกุลสั้นลง เกิดลักษณะที่ใสขึ้น แล้วได้เป็นกลูโคสซีรัป(หรือชื่อไทยคือ แบะแซ) ออกมาโดยที่แบ่งเกรดออกเป็นเบอร์ต่างๆที่เรียกว่าค่า DE(Dextrose Equivalent) จากเริ่มต้นย่อยที่ DE=0 จนย่อยเป็นกลูโคสหมดก็ที่ DE=100
เวลาย่อยครึ่งๆกลางๆ ก็จะทำให้ความหนืดที่ได้แตกต่างออกไป เพราะสัดส่วนระหว่างกลูโคส กับเด็กซ์โตรสในส่วนผสมของแบะแซ จะเปลี่ยนไปตามความมากน้อยของการย่อย
การดูน้ำผึ้งแท้
1. ด ดูสี น้ำผึ้งป่าแท้จะมีสีออกเหลืองขุ่นครับ ดังในภาพ ไม่โปรงแสงหรือใส และที่สำคัญ จะมีฟองขี้ผึ้งลอยอยู่(ในวงแดง) ฟองนี้เกิดจากขั้นตอนการบีบน้ำผึ้งครับ
เสริมจาก ด ดูสี ในวง นอกจากฟองอากาศแล้ว จะมีเศษขี้ผึ้งผสมอยู่ด้วย และที่สำคัญ จะเห็นเศษถ่านดำๆผสมด้วยครับ นึกออกมั๊ยครับว่าถ่านมาจากไหน ก็มาจากตอนที่พรานผึ้งใช้คบตีที่รังผึ้งไงครับ
2.ด ดมกลิ่น
กลิ่นของน้ำผึ้งป่า จะหอมมากๆครับ ประมาณว่าเปิดขวด ในระยะเกือบ 1เมตรจะได้กลิ่น ไม่เหมือนผึ้งเลี้ยงนะครับ เพราะผึ้งป่าจะนำน้ำหวานจากดอกไม้ป่านานาชนิดมาผสมเข้าด้วยกัน จะมีกลิ่นออกเปรี้ยวนิดๆ (กลิ่นที่ว่ามาจากขี้ผึ้ง)
3.ด ดูซึม
ผมทดสอบน้ำผึ้งป่า โดยการหยดมันลงไปบนกระดาษชำระครับ ของแท้จะเป็นก้อนอยู่แบบนั้น สักพักจะค่อยๆบานออกทีละน้อยๆครับ ถ้าเป็นน้ำผึ้งปลอมจะซึมได้อย่างรวดเร็ว ดูจากขอบกระดาษชำระครับ แต่วิธีนี้ ทำสอบได้ไม่ 100% ในกรณี ที่เจอน้ำผึ้งผสมแบะแซ หรือน้ำตาลปี๊บกวนกับยางไม้ เพราะมันจะเหนียว
เสริมจาก ด ดูสี ในวง นอกจากฟองอากาศแล้ว จะมีเศษขี้ผึ้งผสมอยู่ด้วย และที่สำคัญ จะเห็นเศษถ่านดำๆผสมด้วยครับ นึกออกมั๊ยครับว่าถ่านมาจากไหน ก็มาจากตอนที่พรานผึ้งใช้คบตีที่รังผึ้งไงครับ
2.ด ดมกลิ่น
กลิ่นของน้ำผึ้งป่า จะหอมมากๆครับ ประมาณว่าเปิดขวด ในระยะเกือบ 1เมตรจะได้กลิ่น ไม่เหมือนผึ้งเลี้ยงนะครับ เพราะผึ้งป่าจะนำน้ำหวานจากดอกไม้ป่านานาชนิดมาผสมเข้าด้วยกัน จะมีกลิ่นออกเปรี้ยวนิดๆ (กลิ่นที่ว่ามาจากขี้ผึ้ง)
3.ด ดูซึม
ผมทดสอบน้ำผึ้งป่า โดยการหยดมันลงไปบนกระดาษชำระครับ ของแท้จะเป็นก้อนอยู่แบบนั้น สักพักจะค่อยๆบานออกทีละน้อยๆครับ ถ้าเป็นน้ำผึ้งปลอมจะซึมได้อย่างรวดเร็ว ดูจากขอบกระดาษชำระครับ แต่วิธีนี้ ทำสอบได้ไม่ 100% ในกรณี ที่เจอน้ำผึ้งผสมแบะแซ หรือน้ำตาลปี๊บกวนกับยางไม้ เพราะมันจะเหนียว
วันจันทร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
how to steal facebook cookies using wireshark
http://atenlabs.com/blog/how-to-steal-facebook-authentication-cookies/
วันอาทิตย์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
อัตราส่วนการแสดงผลของจอภาพมาตรฐานต่างๆ
อัตราส่วนการแสดงผลของจอภาพมาตรฐานต่างๆ | ||||||||||||||
|
วันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)