แยกภาพออกจาก BG อย่างรวดเร็วด้วย Channels
เปิดรูปภาพที่เราต้องการ >
1. เลือกที่ Channel เลือก Channel ที่ภาพกับ Background ตัดกันชัดเจนมากที่สุด
วันเสาร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Photoshop บทที่ 1 ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรม
เมื่อเปิดโปรแกรม Photoshop CS3 ก็จะพบกับส่วนประกอบต่าง ๆ เหล่านี้
ไตเติ้ลบาร์ คือแถบด้านบนสุดของวินโดว์โปรแกรม ซึงจะแสดงชื่อ
Adobe Photoshop และที่ด้านขวาจะทีปุ่มสำหรับการย่อขยาย เหมือนโปรแกรมทั่วไป
แถวถัดจากไตเติ้ลบาร์เป็นเมนูหลัก ซึ่งประกอบด้วยคำสั่งกลุ่มต่าง ๆ ที่ใช้จัดการกับไฟล์ ทำงานกับรูปภาพ
และปรับแต่งการทำงานของโปรแกรม โดยแต่ละเมนูจะประกอบด้วยคำสั่งดังรูป
ไตเติ้ลบาร์ คือแถบด้านบนสุดของวินโดว์โปรแกรม ซึงจะแสดงชื่อ
Adobe Photoshop และที่ด้านขวาจะทีปุ่มสำหรับการย่อขยาย เหมือนโปรแกรมทั่วไป
แถวถัดจากไตเติ้ลบาร์เป็นเมนูหลัก ซึ่งประกอบด้วยคำสั่งกลุ่มต่าง ๆ ที่ใช้จัดการกับไฟล์ ทำงานกับรูปภาพ
และปรับแต่งการทำงานของโปรแกรม โดยแต่ละเมนูจะประกอบด้วยคำสั่งดังรูป
แผนการจัดการเรียนรู้การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ม, 2201-2408 แบบ Contructivism
แผนการจัดการเรียนรู้การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ม, 2201-2408 แบบ Contructivism
Download แผนการจัดการเรียนรู้การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
ของแอดมินเองนะครับ สงวนสิทธิ์ห้ามนำไปเพื่อการค้าทุกกรณี
Download แผนการจัดการเรียนรู้การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
ของแอดมินเองนะครับ สงวนสิทธิ์ห้ามนำไปเพื่อการค้าทุกกรณี
อินเตอร์เน็ตและการศึกษา
---อินเตอร์เน็ตและการศึกษา---
อินเตอร์เน็ตเป็นสงิ่ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ วันของเรา
เพิ่ม มากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งในด้านการทำ งาน ความบันเทิง การศึกษาข้อมูลข่าวสาร ธุรกิจ การสนทนาพบปะ บริการซอฟแวร์ และอีกหลากหลายด้าน พัฒนาการของระบบอินเตอร์ เน็ตก็ก้าวรุดหน้า
อย่างไม่หยุดยัง้ จนปจั จุบันพัฒนาถึงเทคโนโลยี 3 จี 4 จี การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตมีหลากหลายกลุ่มอายุ อาชีพ ซึ่งที่มีจำนวนไม่น้อยก็คือกลุ่มวัยรุ่นวัยเรียน อินเตอร์เน็ตมีจุดเปลี่ยนที่สำคัญสำหรับวัยรุ่นเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องในแง่บวกหรือเรื่องทางลบที่แฝงอันตรายในเรื่องของการโดนล่อลวงเพื่อละเมิดทางเพศหรือเรื่องการเสพยาหรือค้ายาเสพติด โดนหลอกทำ ธรุกรรมทางการเงินแต่สังคมมักจะมองอินเตอร์เน็ตในทางลบเนื่องมาจากสื่อพยามนำเสนอภาพด้านลบออกมาเพียงด้านเดียวซึ่งได้รับความสนใจมากกว่าแง่บวกน่าเสียดายที่แง่ดีของอินเตอร์เน็ตสื่อไม่ได้สนใจที่จะตีแผ่ให้สังคมได้ตระหนักซึมซับให้มากเท่าที่ควร
แต่วันนี้จะพูดถึงประโยชน์ของอินเตอร์เน็ตที่มีต่อการ
ศึกษาอินเตอร์เน็ตเครื่องมือสำคัญในการศึกษาไม่ว่าจะเป็นการ
สืบค้นข้อมูลการเรียนรู้นอกห้องเรียนซึ่งทำ ให้สถานที่และเวลามีความสำ คัญลดลงและครูอาจารย์ไม่ต้องถ่ายทอดความรู้โดยตรงซึ่งส่วนมากเป็นการเน้นที่ท่องจำ แต่ทำ หน้าที่เป็นพี่เลี้ยงในการเรียนรู้ซึ่งทำให้การเรียนประสบผลสำ ฤทธิก์ ว่าการถ่ายทอดโดยตรงเพราะผู้เรียนได้ทำ หน้าที่ค้นคว้าในสงิ่ ที่กำ ลังเรียนรู้ด้วยตนเองทำ ให้เกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบโดยผู้เรียนเอง เรียกว่าประสบการณ์ทำ ให้การเรียนเน้นไปที่กระบวนการเรียนรู้ (Process) มากกว่า ผลลัพธ์ (Result) ถ้าถามว่ากระบวนการสำ คัญกว่าผลลัพธ์อย่างไรดูจากตัวอย่างนี้แล้วจะเห็นภาพเมื่อผู้สอนมอบหมายงาน
ให้ผู้เรียน
อินเตอร์เน็ตเป็นสงิ่ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ วันของเรา
เพิ่ม มากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งในด้านการทำ งาน ความบันเทิง การศึกษาข้อมูลข่าวสาร ธุรกิจ การสนทนาพบปะ บริการซอฟแวร์ และอีกหลากหลายด้าน พัฒนาการของระบบอินเตอร์ เน็ตก็ก้าวรุดหน้า
อย่างไม่หยุดยัง้ จนปจั จุบันพัฒนาถึงเทคโนโลยี 3 จี 4 จี การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตมีหลากหลายกลุ่มอายุ อาชีพ ซึ่งที่มีจำนวนไม่น้อยก็คือกลุ่มวัยรุ่นวัยเรียน อินเตอร์เน็ตมีจุดเปลี่ยนที่สำคัญสำหรับวัยรุ่นเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องในแง่บวกหรือเรื่องทางลบที่แฝงอันตรายในเรื่องของการโดนล่อลวงเพื่อละเมิดทางเพศหรือเรื่องการเสพยาหรือค้ายาเสพติด โดนหลอกทำ ธรุกรรมทางการเงินแต่สังคมมักจะมองอินเตอร์เน็ตในทางลบเนื่องมาจากสื่อพยามนำเสนอภาพด้านลบออกมาเพียงด้านเดียวซึ่งได้รับความสนใจมากกว่าแง่บวกน่าเสียดายที่แง่ดีของอินเตอร์เน็ตสื่อไม่ได้สนใจที่จะตีแผ่ให้สังคมได้ตระหนักซึมซับให้มากเท่าที่ควร
แต่วันนี้จะพูดถึงประโยชน์ของอินเตอร์เน็ตที่มีต่อการ
ศึกษาอินเตอร์เน็ตเครื่องมือสำคัญในการศึกษาไม่ว่าจะเป็นการ
สืบค้นข้อมูลการเรียนรู้นอกห้องเรียนซึ่งทำ ให้สถานที่และเวลามีความสำ คัญลดลงและครูอาจารย์ไม่ต้องถ่ายทอดความรู้โดยตรงซึ่งส่วนมากเป็นการเน้นที่ท่องจำ แต่ทำ หน้าที่เป็นพี่เลี้ยงในการเรียนรู้ซึ่งทำให้การเรียนประสบผลสำ ฤทธิก์ ว่าการถ่ายทอดโดยตรงเพราะผู้เรียนได้ทำ หน้าที่ค้นคว้าในสงิ่ ที่กำ ลังเรียนรู้ด้วยตนเองทำ ให้เกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบโดยผู้เรียนเอง เรียกว่าประสบการณ์ทำ ให้การเรียนเน้นไปที่กระบวนการเรียนรู้ (Process) มากกว่า ผลลัพธ์ (Result) ถ้าถามว่ากระบวนการสำ คัญกว่าผลลัพธ์อย่างไรดูจากตัวอย่างนี้แล้วจะเห็นภาพเมื่อผู้สอนมอบหมายงาน
ให้ผู้เรียน
การเรียนรู้ 6 ระดับ Conitive Domain
สำหรับคำว่า "การเรียนรู้ " ทุกคนล้วนคุ้นเคยกันดีและเคยได้ยินผ่านหู เคยพูด เคยเขียนมาตัง้ แต่เด็ก ๆ การเรียนรู้แท้จริงแล้วคือ อะไรแต่อาจจะกำหนดนิยามความเข้าใจส่วนตัว เอาไวในใจแลว้และถูกหนดแบ่งเป็นการเรียนรู้แบบใดบ้าง และการเรียนรู้มีระดับใดบ้าง กี่ระดับ ว่ากันจริง ๆ แล้วแค่คำพูดสั้น ๆ คำนี้สามารถตีความหมายแตกรายละเอียดได้อีมากมาย และมีการศึกษาวิจัยเอาไว้เป็นตำราด้านการเรียนรู้หลายทฤษฏี แต่ละทฤษฏีล้วนมีแนวคิดที่น่าสนใจการนำความรู้ หล่านั้นมาใช้ก็ ขึ้นอยู่กับว่าจะนำมาใช้ในเรื่องใดเช่นด้านการศึกษา เรานำทฤษฏีการเรียนรู้ 6 ลำ ดับขั้นมาใช้ในการกำหนดระดับความรู้แล้วนำมาใช้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน
การเรียนรู้เกิดขึ้นกับชีวิตมนุษย์ตัง้ แต่เกิดจนตาย และช่วงที่มีการเรียนรู้ที่ยาวนานที่สุดคือวยั เรียนซึ่งก็ต้องอยู่ในระบบการศึกษา มีผู้สอนวิชาต่าง ๆ ให้เป็นพื้นฐานชีวิต ซึ่งมีทั้ง ในทางทฤษฏีและปฏิบัติ ระบบการศึกษาจำเป็นต้องมีทฤษฏีแต่การเรียนรู้เพียงในทางทฤษฏีแต่ไม่เคยนำไปปฏิบัติ หรือเรียนรู้ทฤษฏี แต่เมื่อปฏิบัติไม่ได้นำไปใช้ ก็ไม่ต่างจากการลองผิดลองถูกกับผู้เรียน มันจะส่งผลเสียต่อผู้เรียนทัง้ ในปัจจุบันและอนาคต ทฤษฏีการเรียนรู้สามารถนำไปปฏิบัติในครอบครัวโดยผู้ปกครองและในสถานศึกษาการเรียนรู้คือกระบวนกาเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด ความสามารถ การเรียนรู้เกิดขึ้นได้โดย การฟังพูด คิด อ่านเขียน ฝึกฝน การกระทำ โดยตรงที่เกิดความสำ เร็จและผิดพลาดทำให้เกิดทักษะ คุณค่า ความพึงพอใจ
ระดับขั้น การเรียนรู้มีอะไรบ้าง
1. ความรู้ที่เกิดจากความจำ (knowledge) เป็นการเรียนรู้ระดับข้อมูลพื้นฐาน เช่น ศัพท์ นิยาม คำจำกัดความ รูปภาพ อักษร กฏสูตร ขนาด เวลา สถานที่ ระเบียบ แบบแผน ประเพณี
2. ความเข้าใจ (Comprehend) เช่น แปลความ ตีความ ขยายความอธิบายเพมิ่ เติมโดยสาระนั้นไม่เปลี่ยนแปลงไป ลำ ดับขั้น ตอน หรือเพิ่ม แง่คิดเข้าไป
3. การประยุกต์ใช้ (Application) คือการนำความรู้จำไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือใช้งานด้านต้าง ๆ เช่นเมื่อได้เรียนทำ อาหารแล้วสามารถนำความรู้มาประกอบอาหารได้หลายชนิด โดยรู้ว่าปริมาณเท่านี้ ต้องใช้เครื่องปรุงเท่าไหร่
4. การวิเคราะห์ ( Analysis) คือการแยก เช่นแยกคำพูด วิเคราะห์ชนิดสิ่ง ของต่าง ๆ หรือหรือเมื่อได้เรียนทำอาหารแล้วสามารถวิเคราะห์อาหารที่ปรุงเสร็จว่า ปรุงด้วยอะไรบ้าง ปรุงอย่างไร ใช้ไฟเบา ไฟแรง อย่างไรเป็นต้น
5. การสังเคราะห์ ( Synthesis) คือการรวม การนำเอาความรู้ประสบการณ์มาผสม ประยุกต์ให้เกิดสงิ่ ใหม่ ๆ หรือการทำ ความรู้ที่ได้จากการเรียนทำอาหารมาสร้างเป็นเมนูใหม่ อาหารชนิดใหม่ก็คือการคิดค้นนวัตกรรมใหม่นัน่ เอง
6. การประเมินค่า ( Evaluation) คือการนำความรู้ที่มีทัง้ หมดมาตัดสิน เช่นตัดสินคดี ตัดสินกีฬา ตัดสินว่าอะไรดีไม่ดี อย่างมีหลักการและเหตุผลด้านการศีกษาได้นำทฤษฏนี้ไปประยุกต์ใช้โดยการสร้างโจทย์ปัญ หาใหม่ที่ไม่คุ้นเคย ไม่ชัดเจน ให้ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาแก้ปัญหา ด้วยหลักการ ความคิดรวบยอด เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการประยุกต์ เป็นการฝึกให้นำความรู้ที่ได้เรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ถ้าหากว่าต้องการให้ลูกหลานมีการเรียนรู้ที่ถูกต้องอย่างเป็นระบบเกิดขึ้นที่บ้านจำ เป็นต้องสอนให้ถูกต้องตามหลักการ เพื่อปลูกฝัง ให้เป็นคนที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ใน อนาคตเมื่อโตขึ้นก็สามารถแก้ปญั หาต่าง ๆ ได้ดีรวมถึงประสบความสำเร็จในชีวิตได้ทฤษฏีการเรียนรู้ของบลูมเป็นการพัฒนาอยู่ 3 ด้านคือ แต่ในที่นี้เน้นในเรื่องพุทธิพิสัย
1. ด้านพุทธิพิสัย คือ ระดับการเรียนรู้ที่พัฒนาความรู้ ความคิดสติปัญญาเป็นด้านการรู้คิด
2. ด้านจิตพิสัย คือ ระดับการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอารมณ์ ทางด้านจิตใจ เจตคติต่าง ๆ
3. ด้านทักษะพิสัย คือ การเรียนรู้ระดับปฏิบัติการ การสร้างพัฒนาการทางร่างกาย
ถ้ามองตามหลักการเรียนรู้เชิงพุทธนั้นได้มีการแบ่งแนวคิดการเรียนรู้ไว้ 3 ด้านเช่นกัน และครอบคลุมถึงระดับการเรียนรู้ของบลูมอีกด้วย คือ ศีลภาวนา การพัฒนาทางกายจิตตภาวนา การพัฒนาทางด้านจิตใจ และปญั ญาภาวนาการพัฒทางด้านปัญญา การเรียนรู้จึงจำ แนกเป็น 3 ด้านเรียกว่า ไตรสิกขา ประกอบด้วย อธิศีลสิกขา สิกขาคือศีลอันยิ่ง อธิจิตตสิกขา สิกขาคือจิตอันยิ่ง และ อธิปัญญาสิกขา สิกขาคือปัญญาอันยิ่ง ทั้ง 3 อย่างนี้เรียก ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา)ดังนั้นไม่ว่าใครจะยึดแนวไหนอย่างไรก็ไม่สำคัญหากแต่ศึกษาตามแนวทางแล้วก่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง ดังเช่นบุคคลที่เข้าถึงพุทธิพิสัยหรือพุทธิปัญาอย่างแท้จริงแล้วนำมาประยุกต์ใช้งานได้เช่น สตีฟ จ็อบส์ผู้ก่อตัง้ เแอปเปิลคอมพิวเตอร์ ผู้นำนวัตกรรมคอมพิวเตอร์,บิลเกตต์ ผู้ก่อตัง้ บริษัทไมโครซอฟท์ ผู้ผลิตระบบปฏิบัติการวินโดว์รวยอันดับต้น ๆ ของโลก, มาร์ก ซัคเคอร์เบิร์ก ชายผู้เชื่อมโลก ด้วยเฟซบุ๊คเจ้าของธุรกิจมูลค่ามหาศาลอันดับต้น ๆ ของโลก บุคคลเหล่านี้คือผู้ที่ประยุกต์ใช้ความรู้อย่างแท้จริงจนประสบความสำเร็จเป็นทั้ง ตัวอย่าง และแรงบัลดาลใจให้คนบนโลกใบนี้อย่างมากมาย ดังนั้นทฤษฏีการเรียนรู้ 6 ระดับนี้จึงเป็นสิ่ง ที่ควรให้ความสำคัญในทุกระดับการศึกษา
บทความนี้เขียนโดย anut.smfnew.com
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556
ภาพ Model 3D สร้างโดย anut.smfnew.com
ตีพิมพ์ลงนิดยสาร PUWADHAM
การเขียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
Download แบบฟอร์มในการทำวิจัยไฟล์เวิด ให้ใช้ IE9 และ Chrome ในการดาวน์โหลด
แบบฟอร์มเสนอหัวข้องานวิจัย
แนวทางการเขียนเสนอหัวข้อวิจัย
สไลด์สำหรับนำเสนอ
แบบประเมินหัวข้องานวิจัย
หรือของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จินตนา เวชมี http://goo.gl/YajDq
Tribute::ข้อมูลจากนักศึกษาปริญญาเอก kru-sanit.com
***ถึงผู้ศึกษาค้นคว้าทุกท่าน ทางเว็บอยากให้ท่านได้สมัครสมาชิกเพื่อแสดงตัวตน อีกทั้งร่วมแบ่งปันความรู้ขอบคุณครับ...
การเขียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเป็นเสมือนพิมพ์เขียวที่ระบุรายละเอียดของสิ่งที่ดำเนินการว่าจะทำอะไร ทำไมต้องทำ ทำอย่างไร ทำที่ไหน ทำเมื่อไหร่ และทำกับใครนั้นเอง มีจุดมุ่งหมายให้ผู้วิจัยหรือผู้อ่านทราบกรอบการดำเนินการว่าจะวิจัยเรื่องอะไร มีวัตถุประสงค์อะไร จะใช้ระเบียบการศึกษาเพื่ออะไร จะใช้รูปแบบการดำเนินการวิจัยอย่างไร และการวิจัยมีประโยชน์อย่างไร
โออิชิ กดอะไร, อิชิตัน กดอะไร
กด *494* ตามด้วยรหัสใต้ฝา 10 หลัก # จากใต้ฝา หรือในกล่องยูเอชที
กด *488* ตามด้วยรหัสใต้ฝา 10 หลัก # จากใต้ฝา หรือในกล่องยูเอชที
กด *488* ตามด้วยรหัสใต้ฝา 10 หลัก # จากใต้ฝา หรือในกล่องยูเอชที
วันศุกร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
The Cooperative Association for Internet Data Analysis
http://www.caida.org/publications/posters/
Visualization represents a macroscopic snapshot of the Internet for a two interval. The graph reflects IP addresses and IP links (immediately adjacent addresses in a traceroute-like path) of topology data gathered from 22 monitors probing destinations spread across globally routable network prefixes. For more information, see Visualizing IPv4 and IPv6 Internet Topology at a Macroscopic Scale
Visualization represents a macroscopic snapshot of the Internet for a two interval. The graph reflects IP addresses and IP links (immediately adjacent addresses in a traceroute-like path) of topology data gathered from 22 monitors probing destinations spread across globally routable network prefixes. For more information, see Visualizing IPv4 and IPv6 Internet Topology at a Macroscopic Scale
ปฏิทินวันพระ ประจำปี 2556
ปฏิทินวันพระ 2556 เดือนมกราคม
วันเสาร์ ที่ 5 มกราคม เป็นวันแรม 8 ค่ำเดือน 1
วันศุกร์ ที่ 11 มกราคม เป็นวันแรม 14 ค่ำเดือน 1
วันเสาร์ ที่ 19 มกราคม เป็นวันขึ้น 8 ค่ำเดือน 2
วันเสาร์ ที่ 26 มกราคม เป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 2
ปฏิทินวันพระ 2556 เดือนกุมภาพันธ์
วันอาทิตย์ ที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันแรม 8 ค่ำเดือน 2
วันอาทิตย์ ที่ 10 กุมภาพันธ์ เป็นวันแรม 15 ค่ำเดือน 2
วันจันทร์ ที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันขึ้น 8 ค่ำเดือน 3
วันจันทร์ ที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3 (วันมาฆบูชา)
ปฏิทินวันพระ 2556 เดือนมีนาคม
วันอังคาร ที่ 5 มีนาคม เป็นวันแรม 8 ค่ำเดือน 3
วันจันทร์ ที่ 11 มีนาคม เป็นวันแรม 14 ค่ำเดือน 3
วันอังคาร ที่ 19 มีนาคม เป็นวันขึ้น 8 ค่ำเดือน 4
วันอังคาร ที่ 26 มีนาคม เป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 4
วันเสาร์ ที่ 5 มกราคม เป็นวันแรม 8 ค่ำเดือน 1
วันศุกร์ ที่ 11 มกราคม เป็นวันแรม 14 ค่ำเดือน 1
วันเสาร์ ที่ 19 มกราคม เป็นวันขึ้น 8 ค่ำเดือน 2
วันเสาร์ ที่ 26 มกราคม เป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 2
ปฏิทินวันพระ 2556 เดือนกุมภาพันธ์
วันอาทิตย์ ที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันแรม 8 ค่ำเดือน 2
วันอาทิตย์ ที่ 10 กุมภาพันธ์ เป็นวันแรม 15 ค่ำเดือน 2
วันจันทร์ ที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันขึ้น 8 ค่ำเดือน 3
วันจันทร์ ที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 3 (วันมาฆบูชา)
ปฏิทินวันพระ 2556 เดือนมีนาคม
วันอังคาร ที่ 5 มีนาคม เป็นวันแรม 8 ค่ำเดือน 3
วันจันทร์ ที่ 11 มีนาคม เป็นวันแรม 14 ค่ำเดือน 3
วันอังคาร ที่ 19 มีนาคม เป็นวันขึ้น 8 ค่ำเดือน 4
วันอังคาร ที่ 26 มีนาคม เป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 4
วันพุธที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
แบะแซ สารทำน้ำผึ้งเทียม
การดูน้ำผึ้งแท้
แบะแซ หรือ Glucose Syrup หรือ "กลูโคสก้อน" จัดเป็นสารชีวโมเลกุลครับ ได้มาจากการย่อยแป้ง(มันสำปะหลัง) แต่แบะแซคุณภาพดีจะได้จากการย่อยแป้งข้าวโพด อาจจะด้วยกรดอย่างเดียว หรือย่อยด้วยกรดแล้วย่อยต่อด้วยเอนไซม์ต่างๆ เช่น Amylo glucosidase, B-Amylase, A-Amylase เป็นต้น
เวลาย่อยแล้ว แป้งก็มีสายโมเลกุลสั้นลง เกิดลักษณะที่ใสขึ้น แล้วได้เป็นกลูโคสซีรัป(หรือชื่อไทยคือ แบะแซ) ออกมาโดยที่แบ่งเกรดออกเป็นเบอร์ต่างๆที่เรียกว่าค่า DE(Dextrose Equivalent) จากเริ่มต้นย่อยที่ DE=0 จนย่อยเป็นกลูโคสหมดก็ที่ DE=100
เวลาย่อยครึ่งๆกลางๆ ก็จะทำให้ความหนืดที่ได้แตกต่างออกไป เพราะสัดส่วนระหว่างกลูโคส กับเด็กซ์โตรสในส่วนผสมของแบะแซ จะเปลี่ยนไปตามความมากน้อยของการย่อย
แบะแซ หรือ Glucose Syrup หรือ "กลูโคสก้อน" จัดเป็นสารชีวโมเลกุลครับ ได้มาจากการย่อยแป้ง(มันสำปะหลัง) แต่แบะแซคุณภาพดีจะได้จากการย่อยแป้งข้าวโพด อาจจะด้วยกรดอย่างเดียว หรือย่อยด้วยกรดแล้วย่อยต่อด้วยเอนไซม์ต่างๆ เช่น Amylo glucosidase, B-Amylase, A-Amylase เป็นต้น
เวลาย่อยแล้ว แป้งก็มีสายโมเลกุลสั้นลง เกิดลักษณะที่ใสขึ้น แล้วได้เป็นกลูโคสซีรัป(หรือชื่อไทยคือ แบะแซ) ออกมาโดยที่แบ่งเกรดออกเป็นเบอร์ต่างๆที่เรียกว่าค่า DE(Dextrose Equivalent) จากเริ่มต้นย่อยที่ DE=0 จนย่อยเป็นกลูโคสหมดก็ที่ DE=100
เวลาย่อยครึ่งๆกลางๆ ก็จะทำให้ความหนืดที่ได้แตกต่างออกไป เพราะสัดส่วนระหว่างกลูโคส กับเด็กซ์โตรสในส่วนผสมของแบะแซ จะเปลี่ยนไปตามความมากน้อยของการย่อย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)